Monday, December 8, 2014

Flowchart (รูปแบบการเขียนผังงาน)


 1. Sequence flowchart (ผังงานแบบลำดับ)





















             The flowchart above demonstrates a sequence of steps. The reader would start at the Start shape and follow the arrows from one rectangle to the other, finishing at the End shape.  A sequence is the simplest flowcharting construction. You do each step in order.

               If your charts are all sequences, then you probably don't need to draw a flowchart. You can type a simple list using your word processor. The power of a flowchart becomes evident when you include decisions and loops.

              RFFlow allows you to number your shapes if you wish. Run RFFlow and click on ToolsNumber Shapes, and put a check mark in Enable numbers for the entire chart. You can also choose to have a number or not in each individual shape and you can quickly renumber your chart at any time.
                  ผังงานแบบลำดับ เป็นผังงานที่มีโครงสร้างการกระทำตามลำดับกิจกรรมก่อนหลังที่เรียงเป็นลำดับต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ การเขียนผังงานแบบลำดับจะเป็นโครงสร้างที่ง่ายที่สุดเหมาะสำหรับงานที่ไม่มีความซับซ้อน ไม่มีการตรวจสอบเงื่อนไข และไม่ต้องการทำงานซ้ำ ๆ แต่ในบางครั้งผังงานแบบลำดับมักจะไปรวมอยู่ในผังงานแบบเลือก และแบบทำซ้ำในกรณีที่มีกิจกรรมทำงานต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ โดยส่วนมากจะเป็นการจัดวาง กิจกรรมจากบนลงล่าง และจากซ้ายไปขวา

 2. decision flowchart (ผังงานแบบทางเลือก ,ผังงานแบบตัดสินใจ)


               This structure is called a decision, "If Then.. Else" or a conditional. A question is asked in the decision shape. Depending on the answer the control follows either of two paths. In the chart above, if the temperature is going to be less than freezing (32 degrees Fahrenheit) the tomatoes should be covered. Most RFFlow stencils include the words "Yes" and "No" so you can just drag them onto your chart. "True" and "False" are also included in most of the flowcharting stencils.
                   ผังงานแบบทางเลือก ลักษณะของแบบสองทางเลือก (double selection) จะประกอบด้วย 1 เงื่อนไข และ 2 กิจกรรม หลักการตรวจสอบเงื่อนไข ถ้าเงื่อนไขเป็นจริง จะทำกิจกรรมที่ 1 แล้วออกจากโครงสร้าง แต่ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จ จะทำกิจกรรมที่ 2 แล้วออกจากโครงสร้าง และทำตามลำดับต่อไปเรื่อย ๆ จนถึงจุดสุดท้ายของผังงาน


3. Loop flowchart (ผังงานแบบวนซ้ำ)
                
                    This structure allows you to repeat a task over and over. The red chart above on the left does the task and repeats doing the task until the condition is true.  The green chart on the right checks the condition first and does the task while the condition is true. It is not important that you remember whether the loop is a "Do While" or "Repeat Until" loop, only that you can check the condition at the start of the loop or at the end. You can also have the conditions reversed and your loop is still a structured design loop. A slight variation of the above is the "For each...do the following" loop shown below.



                    The above chart performs the task 10 times as X counts from 0 to 10. This is just a Repeat Until X is equal to 10, but it is so common a structure that some refer to it as the "For Loop." The names are really not important. What is important is that you use only the basic structures shown here to create a structured flowchart.
โครงสร้างการทำงานแบบมีการทำงานซ้ำ
เป็นโครงสร้างที่มีการประมวลผลกลุ่มคำสั่งซ้ำหลายครั้ง ตามลักษณะเงื่อนไขที่กำหนด อาจเรียก การทำงานซ้ำแบบนี้ได้อีกแบบว่า การวนลูป ( Looping ) โครงสร้างแบบการทำงานซ้ำนี้จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ
• DO WHILE
• DO UNTIL
DO WHILE
เป็นโครงสร้างที่มีการทดสอบเงื่อนไขก่อน ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงก็จะเข้ามาทำงานในกลุ่มคำสั่งที่ต้องทำซ้ำ ซึ่งเรียกว่าการเข้าลูป หลังจากนั้นก็จะย้อนกลับไปตรวจสอบเงื่อนไขใหม่อีก ถ้าเงื่อนไขยังคงเป็นจริงอยู่ ก็ยังคงต้องทำกลุ่มคำสั่งซ้ำหรือเข้าลูปต่อไปอีก จนกระทั่งเงื่อนไขเป็นเท็จ ก็จะออกจากลูปไปทำคำสั่งถัดไปที่อยู่ถัดจาก DO WHILE หรืออาจเป็นการจบการทำงาน
DO UNTIL
เป็นโครงสร้างการทำงานแบบทำงานซ้ำเช่นกัน แต่มีการทำงานที่แตกต่างจาก DO WHILE คือจะมีการเข้าทำงานกลุ่มคำสั่งที่อยู่ภายในลูปก่อนอย่างน้อย 1 ครั้ง แล้วจึงจะไปทดสอบเงื่อนไข ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จก็จะมีการเข้าทำกลุ่มคำสั่งที่ต้องทำซ้ำอีก หลังจากนั้นก็จะย้อนกลับไปตรวจสอบเงื่อนไขใหม่อีก ถ้าเงื่อนไขยังคงเป็นเท็จอยู่ ก็ยังต้องทำกลุ่มคำสั่งซ้ำหรือเข้าลูปต่อไปอีก จนกระทั่งเงื่อนไขเป็นจริง จึงจะออกจากลูปไปทำคำสั่งถัดจาก UNTIL หรืออาจเป็นการจบการทำงาน
reference
http://lookjiabja.wordpress.com/
http://www.rff.com/structured_flowchart.htm